คุณแม่ท่านอายุมากแล้ว และมักจะมีความจำเป็น ที่ต้องเอ็กซเเรย์บ่อย เราก็เลยแกรงว่า การได้รับรังสีบ่อยๆ อาจจะเป็นอันตรายต่อท่าน เราก็เลยหาข้อมูลดูว่า การได้รับรังสีแค่ไหน ถึงจะโปรดภัย พอหาข้อมูลมาได้ เราเห็นน่าจะมีประโยชน์ต่อคนอื่นๆบ้าง ก็เลยเอามาแบ่งปันกัน
เอาแต่เนื้อๆมาฝากนะ ส่วนรายละเอียด ที่มากกว่านี้ เช่น ประเภทของรังสี อาการ หรือผลที่เกิดขึ้น เมื่อได้รับรังสี หรือว่าถ้าได้รับมากเกินไป จะเป็นอะไรต่อร่างกายบ้างนั้น ถ้าอยากรู้ ก็ต้องหาข้อมูล เพิ่มเติมเอาเอง
**ค่ามาตราฐาน สำหรับประชาชนทั่วๆไป ในระดับที่ปลอดภัย อยู่ที่ 500 มิลลิแรมต่อปี ลองเปรียบเทียนกับตาราง ข้างล่างดูนะ ว่าใน 1ปี เราได้เอ็กซเรย์ส่วนไหน ของร่างกายไปบ้าง และได้รับรังสีร่วมเป็นเท่าไหร่
ปริมาณรังสีที่ได้รับมีหน่วยเป็นเร็มและมิลลิเร็ม ( 1 มิลลิเร็ม = 0.001 เร็ม)
เอาแต่เนื้อๆมาฝากนะ ส่วนรายละเอียด ที่มากกว่านี้ เช่น ประเภทของรังสี อาการ หรือผลที่เกิดขึ้น เมื่อได้รับรังสี หรือว่าถ้าได้รับมากเกินไป จะเป็นอะไรต่อร่างกายบ้างนั้น ถ้าอยากรู้ ก็ต้องหาข้อมูล เพิ่มเติมเอาเอง
**ค่ามาตราฐาน สำหรับประชาชนทั่วๆไป ในระดับที่ปลอดภัย อยู่ที่ 500 มิลลิแรมต่อปี ลองเปรียบเทียนกับตาราง ข้างล่างดูนะ ว่าใน 1ปี เราได้เอ็กซเรย์ส่วนไหน ของร่างกายไปบ้าง และได้รับรังสีร่วมเป็นเท่าไหร่
ปริมาณรังสีที่ได้รับมีหน่วยเป็นเร็มและมิลลิเร็ม ( 1 มิลลิเร็ม = 0.001 เร็ม)
ปริมาณรังสีที่ได้รับ มิลลิเร็ม
|
ผลของรังสีที่ได้รับต่อสุขภาพ
|
4 | เดินทางไปกลับด้วยเครื่องบิน นิวยอร์ค-ลอนดอน |
20 | x-ray ปอด 1 ครั้ง |
30-50 มิลลิเร็ม/ต่อปี | อยู่ในบ้านไม้ |
50-100 มิลลิเร็ม/ต่อปี | อยู่ในบ้านอิฐ |
70-100 มิลลิเร็ม/ต่อปี | อยู่ในบ้านปูน(คอนกรีต) |
170 มิลลิเร็ม/ต่อปี | ตายด้วยโรคมะเร็ง 1 ใน 250,000 คน |
500 มิลลิเร็ม/ต่อปี | ค่ามาตราฐานที่นานาชาติยอมรับได้สำหรับประชาชน ทั้วๆไป |
ปริมาณรังสีที่ได้รับในการเอกซเรย์ ในตำแหน่งต่าง ๆ ของร่างกาย
ปริมาณรังสีที่ได้รับ มิลลิเร็ม
|
ตำแหน่งต่างๆของร่างกาย
|
10 | เอกซเรย์ปอด |
40 | เอกซเรย์กระดูกศีรษะ |
50 | เอกซเรย์กระดูกสันหลังส่วนคอ |
240 | เอกซเรย์กระดูกสันหลังส่วนอก |
130 | เอกซเรย์กระดูกสันหลังส่วนเอว |
450 | เอกซเรย์นิ่วในไต |
200 | เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของสมอง |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น